Aqua.c1ub.net
*
  Thu 25/Apr/2024
หน้า: 1   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: เครื่องทำความเย็น  (อ่าน 15568 ครั้ง)
muaykapun ออฟไลน์
Club Veteran
« เมื่อ: 27/06/08, [11:15:51] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ก็อธิบายคร่าวๆเรื่องระบบทำความเย็นนะครับ ตั้งแต่ตู้เย็น เครื่องทำน้ำเย็น จน ซิลเลอร์ [ไอ้แว่น]


ในปัจจุบัน ระบบทำความเย็นจะใช้น้ำยา R-134a ในการทำความเย็น (เมื่อก่อนใช้ R-12 แต่มีสารCFC จึงเปลี่ยนมาใช้สารนี้แทน)
จากรูปก็จะเริ่มจากจุดที่1 ก่อนเข้าป๊มน้ำ ไปยังจุดที่2 3 4 แล้ววนกลับมาที่เดิมครับ
1.ก่อนเข้าปั๊ม สารจะมีสถานะเป็นของเหลวครับเย็นมากครับ(อ่านให้จบแล้วจะเข้าใจครับ)
หลังจากเข้าปั๊ม จะทำให้แรงดันสูงขึ้น มากมายครับซื่งจะทำให้เกิดความร้อนและสารจะกลายเป็นไอครับที่จุดที่2จะร้อนมาก
หลังจากนั้นก็จะไประบายความร้อนที่จุดสีเขียว(ส่วนนี้ถ้าเป็นแอร์ตามบ้านๆก็เป็นตัวที่ติดอยู่ข้างนอกที่ปล่อยลมร้อนออกมาครับ
ส่วนนี้จะทำให้อุณหภมิลดลงแต่ก็ยังร้อนกว่าอุณหถูมิห้องครับและจะไหลไปที่วาล์วโดยวาล์วจะทำให้น้ำที่ร้อนกลับมาเย็นนนนนนนนนนเลยครับ
หลักการทำงานก็แค่ขยายขนาดท่อทำให้สารควบแน่และลดอุณหภูมิลงโดยจะต่ำกว่าอุณภูมิห้อง
และส่วนที่ทำให้เย็นก็ส่วนนี้ล่ะ โดยการนำลม(น้ำ)ที่มีอุณหภูมิห้อง(สูงกว่าของเหลวมาแลกเปลี่ยนความร้อนกัน ทำให้เย็นลง
จากนั้นก็จะเข้าสู่กระบวนการที่1
หลักการก็แค่ เปลี่ยนความร้อนระหว่างจุด2จุดเท่านั้น


ส่วนที่เขาว่าให้ประหยัดไฟน่ะ ที่ให้ห่างจากผนัง 15cm 20cmน่ะครับ เพราะว่าถ้าชิดมากเกินไปจะทำให้การระบายอากาศในส่วนที่ร้อนระบายได้ยากขึ้น ทำให้กินไฟมากขึ้น
เพราะฉนั้น
ห้ามนำซิลเลอร์ให้ในตู้ปิดมิดชิด ถ้าไว้ก็ต้องเจาะรู ส่วนที่ลมร้อนออกก็อย่าหันไปทางตู้ปลา จะได้กินไฟน้อยลงด้วยครับ lau01


อธิบายไม่แค่เก่งครับ โทษที
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 28/06/08, [12:56:41] โดย muaykapun »
Tags: ระบบควบคุมอุณหภูมิ 
ไ ก่ โ ต้ ง ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #1 เมื่อ: 27/06/08, [12:04:40] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ได้ความรู้เพิ่มๆ  [ไอ้แว่น]
+1  [เจ๋ง]
(。→‿←。) ออฟไลน์
Hot Member
« ตอบ #2 เมื่อ: 27/06/08, [12:18:50] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

อ่านดูเหมือนจะง่าย แต่ทำไมชิลเลอร์แพงจังหว่า  n032
MPOWER ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #3 เมื่อ: 27/06/08, [13:02:00] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ



ตอนนี้น้ำยาบางที่เริ่มใช้ R404A แล้วครับ   ส่วน R134 ไม่แน่ใจว่าจะให้เลิกใช้เมื่อไหร่

อ่านดูเหมือนจะง่าย แต่ทำไมชิลเลอร์แพงจังหว่า  n032


ทีมันแพงเพราะไอ้ตัวที่เอามาทำตัว แลกเปลี่ยนความร้อนมันแพงครับ
แล้วไหนจะคอมเพรสเซอร์ ตัวหนึ่งอย่างต่ำก็พันอัพครับ แล้วส่วนประกอบอื่นอีก + ค่าแรงงาน +ขนส่ง+ภาษี+กำไรอีกมันก็แพงเป็นธรรมดาครับ แล้วอีกอย่างพวกนี้เค้าผลิตมาน้อยชิ้นต้นทุนการผลิตมันก็สูงตามครับ จึงไม่แปลกที่ราคามันแพง


อ้าว ลืม +1
กา ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #4 เมื่อ: 27/06/08, [21:09:23] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ความรู้มาก gossip
Champies ออฟไลน์
Hot Member
« ตอบ #5 เมื่อ: 27/06/08, [22:58:36] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

 asspain
Karma ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #6 เมื่อ: 28/06/08, [00:55:51] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

 [เจ๋ง] +1
MenN*OSK 128 ออฟไลน์
Hot Member
« ตอบ #7 เมื่อ: 28/06/08, [08:48:36] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ว้าว +1 ไปเลยครับ
*~ qiSSip ~* ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #8 เมื่อ: 01/07/08, [19:27:38] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

 [เย้ะ]
Mr.F ออฟไลน์
Hot Member
« ตอบ #9 เมื่อ: 09/07/08, [08:49:59] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ


ตอนนี้น้ำยาบางที่เริ่มใช้ R404A แล้วครับ   ส่วน R134 ไม่แน่ใจว่าจะให้เลิกใช้เมื่อไหร่


ทีมันแพงเพราะไอ้ตัวที่เอามาทำตัว แลกเปลี่ยนความร้อนมันแพงครับ
แล้วไหนจะคอมเพรสเซอร์ ตัวหนึ่งอย่างต่ำก็พันอัพครับ แล้วส่วนประกอบอื่นอีก + ค่าแรงงาน +ขนส่ง+ภาษี+กำไรอีกมันก็แพงเป็นธรรมดาครับ แล้วอีกอย่างพวกนี้เค้าผลิตมาน้อยชิ้นต้นทุนการผลิตมันก็สูงตามครับ จึงไม่แปลกที่ราคามันแพง


อ้าว ลืม +1

เคยอ่านเจอในแคชตาล็อค AZOO มันบอกว่าชุบไททาเนียม ก็ให้มันแพงไปซะ  n032
sakai ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #10 เมื่อ: 08/02/09, [17:34:45] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณครับผม
JPS ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #11 เมื่อ: 19/02/13, [15:41:05] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ที่อธิบายเกี่ยวกับหลักการทำงานของเครื่องทำความเย็น ผิดเกือบหมดเลยนะครับ


รูปที่ถูกต้องเป็นอย่างนี้นะครับ

สารทำความเย็นเป็นสารที่มีจุดเดือดต่ำ ที่ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิห้องสารพวกนี้จะอยู่ในสถานะเป็นไอหรือ gas ครับ

ช่วง (1) สารทำความเย็นจะอยู่ในสถานะไอครับ ที่ปั๊ม (จริงๆ ต้องเรียกว่าคอมเพรสเชอร์) จะทำการอัดสารทำความเย็นในสถานะไอให้มีความดันสูงขึ้นมากและเกิดความร้อนขึ้น (2) ก๊าซร้อนก็ผ่านเข้าไปที่คอยล์ร้อนเพื่อระบายความร้อนและควบแน่นเป็นของเหลวความดันสูง (3) เมื่อมาถึงวาล์วลดความดันจะลดความดันของสารทำความเย็นให้เป็นของเหลวความดันต่ำใกล้ระเหย (4) เมื่อมาถึงคอยล์ร้อน สารทำความเย็นจะรับความร้อนจากในห้องเข้ามาและระเหยเป็นไอ (1)

สรุป
คอยล์เย็น - รับความร้อนเข้ามาทำให้สารทำความเย็นระเหยเป็นไอ
คอยล์ร้อน - ระบายความร้อนทำให้สารทำความเย็นควบแน่นเป็นของเหลว
คอมเพรสเซอร์(ปั๊ม) - อัดสารทำความเย็นในสถานะก๊าซให้มีความดันสูงขึ้น
วาล์ว - ลดความดันของสารทำความเย็นในสถานะของเหลว



พอดีคลิกเข้ามาเจอแล้วเห็นว่าที่อธิบายมันผิดไปเยอะเลย   036
ทิ้งไว้จะเข้าใจผิดกันไปใหญ่เลยขอแก้ซักหน่อยน่ะครับ สงสัยตรงไหนสอบถามเพิ่มเติมได้นะฮะ พยายามใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายที่สุดละ  emb01
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 19/02/13, [15:43:45] โดย JPS »
kenjomsuk ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #12 เมื่อ: 18/07/13, [13:41:20] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

จริงๆ ซื้อตู้เย็น เจาะบานประตูใส่กระจก แล้วก็เอาตู้เข้าไปวาง เปลี่ยนไฟตู้เย็นเป็น T5  ประหยัดไฟเบอ 5 ด้วย แช่ของกินก็ได้ [on_026]
หน้า: 1   ขึ้นบน
พิมพ์
กระโดดไป: