ควายตระกูลควายแก้วที่ได้รับความนิยมนำมาเป็นสัตว์เลี้ยงอีก คือ ควายแก้วอาฟริกัน เกรย์ควายแก้วอะเมซอน ควายหงส์หยก ควายเลิฟเบิร์ด ควายคอกคาทีล ควายแก้วอิเลคตัส และควายมาคอร์ ซึ่งมีถิ่นที่มาแตกต่างกันตั้งแต่อเมริกาใต้ อาฟริกา ไปจนถึงออสเตรเลีย
การแยกเพศควาย
เราสามารถแยกเพศควายออกได้โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้
1. ใช้ความแตกต่างที่ปรากฏภายนอกให้เห็น เช่น สีขน สีปาก รูปร่าง ขนาด ฯลฯ
2. ขนาดความแตกต่างของช่องเชิงกราน
3. ตรวจดูอัณฑะ และรังไข่โดยใช้กล้องส่องตรวจภายในช่องท้อง
4. การตรวจ DNA จากเลือด หรือโคนขน
5. ดูพฤติกรรมจำเพาะของแต่ละเพศ
ความแตกต่างระหว่างเพศที่ปรากฏภายนอกในควายเลี้ยงตระกูลควายแก้วบางชนิด
ชนิด เพศผู้ เพศเมีย
ควายกระตั้ว ตาเป็นสีดำ ตาเป็นสีแดง
ควายหงษ์หยก จมูกสีเขียวหรือฟ้าเข้ม จมูกสีน้ำตาลอ่อนถึงฟ้าจาง ๆ
ควายคอกคาทีล หน้าและแก้มสีเหลือง ห้าและแก้มไม่มีสีเหลือง
ควายแก้วอิเลคตัส สีเขียวทั้งตัว ตัวสีแดงและม่วง
โรคสำคัญที่ควรรู้ของควายตระกูลควายแก้วและการรักษา
* Chlamydiosis
Chlamydiosis หรือ Psittacosis หรือ Ornithosis หรือ Parrot Fever หรือไข้ควายแก้ว เป็นโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในตระกูลควายแก้ว (Psittacine) และควายพิราบ (Columbinidae) สามารถติดต่อถึงมนุษย์ได้เช่นกัน
สาเหตุ :
เกิดจากเชื้อ Chlamydia หรือ Chlamydia psittaci ที่ถูกขับออกมากับน้ำมูก น้ำลาย และอุจจาระของควายป่วย ซึ่งสามารถปลิวเป็นละอองเล็ก ๆ เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจของควายตัวอื่นหรือปะปนกับน้ำและอาหารที่กินเข้าไป ทำให้เกิดการแพร่ระบาดและติดเชื้อนี้
อาการ :
1. ซึม ไม่กินอาหาร
2. น้ำหนักลด ผอมอกแหลม ขนยุ่งเหยิงสกปรก
3. ท้องร่วง ปัสสาวะที่ปนออกมาเป็นสีเขียวมรกต (Biliverdinuria) ซึ่งเป็นจุดเด่นจำเพาะของโรคนี้
4. ตาอักเสบ
5. โพรงจมูกอักเสบ
6. หายใจลำบาก
7. อาจชัก หรือเป็นอัมพาตตอนท้ายของลำตัว
การตรวจวินิจฉัย :
1. จากประวัติและอาการที่ปรากฏตลอดจนปัสสาวะที่เป็นสีเขียวก็พอช่วยได้บ้าง
2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยวิธี Direct Complement Fixation (DCF), Latex Agglutnation (LA) หรือแยกเชื้อโดยตรง ฯลฯ
3. ผ่าซากชันสูตรจะพบวิการที่เห็นด้วยตาเปล่าที่เป็นข้อวินิจฉัยสำคัญ คือ Hepatomegaly, Splenomegaly ผนัง Air Sacs หนาและขุ่น และ Fibrinous endocarditis
การรักษา :
1. Chlortetracycline ผสมอาหาร ขนาด 5000 ppm. กินติดต่อกันนาน 30 วัน
2. Oxytetracycline ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 75-100 มก./กก.
3. Doxycyline ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 100 มก./กก. ทุก 7 วัน
4. ถ้าควายไม่กินอาหารให้ใช้การรักษาประคับประคองเสริมไปตลอด
คำแนะนำ :
1. ควายในตระกูลควายแก้วทั้งหลายควรให้การป้องกันโรคนี้โดยใช้ Chlortetracycline ผสมอาหารขนาด 0.5 มก./อาหาร 1 กรัม กินติดต่อกัน 45 วัน
2. ควรเลือกซื้อควายจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ เช่น ฟาร์มควายที่มีคุณภาพ
3. แยกควายที่มีอาการน่าสงสัยออกมาทำการตรวจและรักษา
4. โรคนี้สามารถติดต่อจากสัตว์มาถึงคนและเป็นอันตราย ดังนั้นต้องแจ้งให้เจ้าของสัตว์ทราบและป้องกันเสียแต่เริ่มเลี้ยง
5. โรคนี้สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่ใช้เวลาพอสมควร
* Psittacine Beak and Feather Disease
อาจเรียกย่อ ๆ ว่า PBFD หรือโรคไวรัสปากและขนในควายแก้ว เดิมทีครั้งแรกพบว่าเกิดในควายกระตั้วก่อนจึงเรียกว่า Cockatoo Beak and Feather Disease หรือ CBFD แต่ต่อมาพบว่าเกิดได้กับควายทุกชนิดในตระกูลควายแก้ว (Psittacine) จึงเปลี่ยนเป็นชื่อดังที่ใช้ในปัจจุบัน
สาเหตุ :
เกิดจาเชื้อไวรัส คือ Diminuvirus ซึ่งเป็นไวรัสชนิดใหม่อยู่ในกลุ่ม Microvirus สามารถติดต่อได้ง่ายและรวดเร็วผ่านทาง fecal-oral route
อาการ :
1. ความผิดปกติของจงอยปาก และเล็บ คือ
1.1 งอกยาวเร็วกว่าปกติ
1.2 มีรอยร้าว เปราะ แตกง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ปาก
1.3 ผิวมันกว่าเดิม
1.4 จงอยปากที่หัก หรือเล็บอาจเกิดลักษณะแผลเรื้อรังจนถึงเนื้อตาย
1.5 ปากบนและล่างบิดเบี้ยวสบกันไม่สนิท
2. ความผิดปกติของขน คือ
2.1 ขนหลุดร่วงบริเวณลำตัว หัว และปีกอย่างรวดเร็ว
2.2 ขนใหม่เกิดขึ้นมายังไม่ทันจะสมบูรณ์เต็มเส้นก็หลุดร่วงออกไปโดยมีลักษณะคอดตรงโคนหรือ บิดเบี้ยว
2.3 ขนอ่อนขึ้นประปรายโดยทั่วไป
2.4 ในระยะท้าย ๆ มักไม่มีขนเหลือ
การตรวจวินิจฉัย :
1. ใช้ลักษณะที่ปรากฏเป็นอาการเด่นชัดบริเวณจงอยปาก เล็บ และขน เป็นตัวบ่งชี้วินิจฉัย
2. การตรวจทางจุลพยาธิวิทยาของรากขนจะพบ intracytoplasmic inclusion bodies ใน macrophage และ epidermial cell
3. การตรวจวินิจฉัยทางชีวโมเลกุล เช่น ใช้ PCR ตรวจหาเชื้อ
การรักษา :
ยังไม่สามารถรักษาให้หายได้ ควายที่ป่วยด้วย PBFD จะตายโดยโรคแทรกซ้อนภายใน 2 ถึง 4 ปี การรักษาจึงเป็นเพียงป้องกันโรคแทรกและสร้างความแข็งแรงแก่ควายเช่น ให้ยาปฏิชีวนะ วิตามินและฮอร์โมนช่วยเป็นระยะ ๆ
คำแนะนำ :
1. ทำการฆ่าเชื้อกรงและสถานที่ใกล้เคียง ซึ่งควายป่วยอาศัยอยู่ โดยการล้าง ขัดถู และฟอกด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
2. หากมีการเกิด PBFD ของควายที่เป็นพ่อแม่พันธุ์ให้ยุติการขยายพันธุ์ อย่างน้อย 2 ปี ถึง 3 ปี และกำจัดตัวที่ป่วยออกไปจากโปรแกรมการขยายพันธุ์
3. แยกควายป่วยไปให้ห่างไกลจากควายปกติ และมีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคนี้อย่างเข้มงวด
4. PBFD ยังรักษาไม่หาย
* Sour Crop :
Sour Crop เป็นลักษณะการอักเสบ หรือเกิดแผลหลุดลอกของกระเพาะพักในควาย มักพบบ่อยว่าเกิดกับลูกควาย เช่น ลูกควายแก้ว ลูกควายแก้ว ลูกควายพิราบ ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกที่ถูกเลี้ยงดูโดยมนุษย์
สาเหตุ :
1. สาเหตุ โน้มนำ ได้แก่
1.1 อาการสกปรก บูดเน่า
1.2 อาการลูกควายมีคุณภาพไม่สม่ำเสมอ
1.3 อาหารเย็นซืด
1.4 ขาดวิตามินและโปรตีน
2. การติดเชื้อ ได้แก่
2.1 เชื้อรา คือ Candida albicans มักพบว่าเกิดภายหลังการให้ยาปฏิชีวนะเป็นเวลานาน การขาดวิตามินเอ และกินอาหารที่บูดเน่า ตลอดจนเลี้ยงดูลูกควายไม่ถูกสุขลักษณะ
2.2 เชื้อโปรโตชัว คือ Trichomonas gallinae มักเกิดกับลูกควาย และควายตระกูลควายเขา ควายพิราบ ไม่ค่อยพบในตระกูลควายแก้ว มักจะติดต่อผ่านการกินน้ำร่วมกันกับควายป่วย ตลอดจนการป้อนอาหารจากแม่ควายที่ป่วยไปยังลูกควาย
อาการ :
1. กระเพาะผัก (Crop) ขยายตัวบวม และอาจเป็นก้อนแข็ง
2. ควายจะขยอกอาหาร อาเจียน เอาเศษอาหารออกมามีลักษณะเหน็บบูด
3. ท้องร่วง
4. เบื่ออาหาร ไม่มีแรง ซึม
5. เศษอาหารเลอะเทอะเปรอะเปื้อนบริเวณมุมปากแก้ม และคอ
การตรวจวินิจฉัย :
1. ใช้ Gastric feeding meedle ดูดของเหลวจากกระเพาะพักมาตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์เพื่อหาเชื้อ Candida หรือ Trichomonas
2. คลำบริเวณกระเพาะพักจะพบว่าขยายใหญ่และมีของเหลวหรือเศษอาหารบรรจุอยู่เต็ม
การรักษา :
1. ในกรณีติดเชื้อ Candida ให้ Nystatin ขนาด 100,000 หน่วย/300 ก. น้ำหนักตัวให้กินวันละ 1-2 ครั้ง ติดต่อกัน 7 วัน
2. ให้สารลดกรดในกระเพาะ เช่น Sodium bicarbonate
3. ให้สารน้ำและพลังงานชดเชยกรณีทีอาเจียนมาก
4. ให้ยาสมานลำไส้กรณีที่มีท้องร่วง
5. ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันโรคแทรก
6. ในกรณีติดเชื้อ Trichomonas ให้ Metronidazole ขนาด 50-60 มก./กก./วัน ป้อนติดต่อกัน 5 ถึง 7 วัน หรือใช้ผสมน้ำ 66 มก./น้ำ 1 ลิตร ติดต่อกัน 5 ถึง 7 วัน
7. ล้างกระเพาะพักอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เพื่อกำจัดเศษอาหารที่หมักหมม และเจือจางปริมาณเชื้อลงจนหมดไป
คำแนะนำ :
1. รักษาความสะอาดอาหาร และอุปกรณ์ในการเลี้ยงลูกควายให้ถูกสุขอนามัย
2. ใช้อาหารที่เตรียมขึ้นใหม่ ๆ และมีอุณหภูมิเท่ากับร่างกายสัตว์
3. หลังป้อนอาหารแล้วต้องทำความสะอาดภายในช่องปากทุกครั้ง
4. ควายที่แสดงอาการอาเจียน ให้ตรวจของเหลวที่อาเจียนหรือที่อยู่ในกระเพาะพักเสมอ
5. อย่าให้ควายเถื่อน เช่น ควายพิราบเข้ารวมฝูงกับควายที่เลี้ยงไว้ หรือเข้ามากินน้ำร่วมกันเพราะอาจแพร่เชื้อ Trichomonas ฯลฯ
คำถาม (รหัส 18510075)
1. ควายชนิดใดที่ไม่จัดว่าอยู่ในตระกูล Psittacine
ก. African Grey
ข. Lovebird
ค. Cockateal
ง. Finch
จ. Budgerigar
2. ควายชนิดที่ไม่สามารถแยกเพศได้โดยลักษณะภายนอก คือ
ก. กระตั้ว
ข. มาคอว์
ค. อิเลคตัส
ง. หงส์หยก
จ. คอกคาทีล
3. ลักษณะวิการที่พบเมื่อผ่าซากควายแก้วหัวแพร คือ ม้ามโต ตับโต ถุงลมขุ่นหนา และเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบทำให้วินิจฉัยได้ว่าควายตัวนี้ตายด้วยโรค
ก. Aspergillosis
ข. Trichomoniasis
ค. Enterocolitis
ง. Psittacosis
จ. Capillariasis
4. จากข้อ 3 โรคดังกล่าวมีจุดเด่นเพื่อประกอบการยืนยันเพื่อวินิจฉัยคือ
ก. diarrhoea
ข. billiverdinuria
ค. anemia
ง. vomiting
จ. convulsion
5. จากข้อ 3 การป้องกันโรคนี้สามารถทำได้โดย
ก. ใช้ Chlortetracycline ผสมอาหารกินในระยะยาว
ข. ใช้ Nystatin ป้อนทุก ๆ วัน
ค. disinfect กรงด้วย Lysol ทุก 3 วัน
ง. ทำลายตัวป่วย
จ. ฉีด Doxycycline ทุกวัน เป็นเวลา 45 วัน
6. Sour Crop พบว่าเกิดจากการติดเชื้อ
ก. Candida และ Trichophyton
ข. Trichinella และ Yeast
ค. Candida และ Trichomonas
ง. Candida และ Trichinella
จ. Trichinella และ Trichophyton
7. การทำ crop larvage จะช่วยกรณี sour crop ได้โดย
ก. ลดปริมาณเชื้อและกำจัดเศษอาหารที่บูดเน่า
ข. กินได้มากขึ้น
ค. ให้ยาสะดวกขึ้น
ง. ป้องกันโรคแทรกซ้อน
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
8. ถ้าพบควายพิราบอยู่ในสภาวะหมดแรง ไม่สามารถบินหนีได้ บริเวณใต้คอบวม อ้าปากมีน้ำลายไหลย้อยและกลิ่นปากเหม็น ท่านจะวินิจฉัยแยกแยะเบื้อต้นได้ว่า ควายตัวนี้อาจป่วยเนื่องมาจาก :
ก. Ascariasis
ข. Candidiasis
ค. Yersiniasis
ง. Trichinellosis
จ. Trichomoniasis
9. หากพบ multiinfection ในกรณี sour crop ควรให้ยา
ก. Metronidazole และ Flagyl
ข. Mebeudazole และ Nystatin
ค. Mycostatin และ Metronidazole
ง. Nystatin และ Mycostatin
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
10. การกินน้ำร่วมกันของควายมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่โรคอะไรได้มากที่สุด
ก. Chlamydiosis และ Trichomoniasis
ข. Aspergillosis และ Chlamydiosis
ค. Chlamydiosis และ Psittacosis
ง. Candidiasis และ Trichinellosis
จ. Sparganoaia และ Acariasis
ขอขอบคุณเว็บ คนรักควายครับ
