วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 [08:33:20]
ตัวช่วยคำนวณ
คำนวณปริมาตรน้ำตู้ทรงสี่เหลี่ยม
ค่าความสูง ควรนำความสูงของตู้มาหักความสูงของพื้นปลูก (ความสูงของชั้นดินและกรวด) และขอบตู้ด้านบนที่เราไม่ได้ใส่น้ำออกด้วย
เลือกใส่ขนาดเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร อย่างใดอย่างหนึ่ง
ความลึก นิ้ว หรือ ซม.
ความกว้าง นิ้ว หรือ ซม.
ความสูง นิ้ว หรือ ซม.
ปริมาตรของตู้คุณคือ ลิตร
หรือ US แกลลอน1
หรือ UK แกลลอน2
  • (1) 1 US แกลลอน (อเมริกัน) เท่ากับ 3.785 ลิตร
  • (2) 1 UK แกลลอน (อังกฤษ) เท่ากับ 4.54609 ลิตร

คำนวณปริมาตรน้ำตู้ทรงกระบอกหรือถัง
สำหรับคำนวณปริมาตรอ่างปลาทรงกลม, ถังกรอง, แท๊งค์น้ำ หรือพื้นที่ทรงกระบอก
เลือกใส่ขนาดเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร อย่างใดอย่างหนึ่ง
เส้นผ่านศูนย์กลาง นิ้ว หรือ ซม.
ความสูง นิ้ว หรือ ซม.
ปริมาตรของตู้คุณคือ ลิตร
หรือ UK แกลลอน2
หรือ US แกลลอน1
  • (2) 1 UK แกลลอน (อังกฤษ) เท่ากับ 4.54609 ลิตร
  • (1) 1 US แกลลอน (อเมริกัน) เท่ากับ 3.785 ลิตร

ตัวช่วยคำนวณปริมาณสัตว์น้ำที่สามารถอยู่ในตู้นี้ได้อย่างเหมาะสม
ใส่ปริมาตรน้ำของตู้, อ่าง ที่เลี้ยง (เป็นปริมาณลิตร) แล้วกดคำนวณปริมาณสัตว์น้ำได้เลยครับ
ปริมาตรของตู้คุณคือ ลิตร
ความยาวรวมของปลา, กุ้งขนาดเล็ก1 ซม.
ความยาวรวมของปลา, กุ้งขนาดใหญ่2 ซม.
  • (1) ปลาและกุ้งขนาดเล็กหมายถึงปลาที่มีขนาดความยาวลำตัว (ไม่รวมหาง) เมื่อโตเต็มที่น้อยกว่า 10 ซม.ลงมา เช่น ปลาคาร์ดินัลเตตร้า กุ้งเชอรี่
  • (2) ปลาและกุ้งขนาดใหญ่หมายถึงปลาและกุ้งที่มีขนาดความยาวลำตัว (ไม่รวมหาง) เมื่อโตเต็มที่มากกว่า 10 ซม.ขึ้นไป เช่น ปลาทองออรันดา, กุ้งเครฟิช
* อ่านเพิ่มเติมเรื่องการคำนวณความหนาแน่นของสัตว์น้ำที่เหมาะสมได้ในบทความ ปริมาณของสัตว์น้ำที่เหมาะสม ลงปลาเท่าไหร่? ลงกุ้งกี่ตัว?

แปลงหน่วยวัดอุณหภูมิ
องศาเซลเซียส
°C
องศาฟาเรนไฮต์
°F

แปลงหน่วยวัดของเหลว
US แกลลอน1 <--> ลิตร
US แกลลอน1 <--> UK แกลลอน2
UK แกลลอน2 <--> ลิตร
ไพน์ (Pint) <--> ลิตร
ควอร์ต (Quart) <--> ลิตร
หยด <--> มิลลิลิตร (ml.)
ช้อนชา (Teaspoon) <--> มิลลิลิตร (ml.)
ช้อนโต๊ะ (Tablespoon) <--> มิลลิลิตร (ml.)
ออนซ์ (oz.) <--> มิลลิลิตร (ml.)

คำนวณความเข้มข้น (ppm.)
ปริมาณสารเคมี มิลลิกรัม (mg.)
ปริมาตรของเหลว ลิตร
ความเข้มข้น ppm.

คำนวณค่าไฟฟ้า
โปรแกรมคิดค่าไฟฟ้าต่อเดือน ใส่กำลังไฟฟ้า (วัตต์) ของอุปกรณ์ที่ใช้ (สูงสุด 5 ชิ้น) กับชั่วโมงการเปิดใช้งานในแต่ละวัน แล้วกดคำนวณได้เลยครับ
กำลังไฟฟ้า ชั่วโมงการใช้งานต่อวัน
อุปกรณ์ #1 วัตต์ ชั่วโมง
อุปกรณ์ #2 วัตต์ ชั่วโมง
อุปกรณ์ #3 วัตต์ ชั่วโมง
อุปกรณ์ #4 วัตต์ ชั่วโมง
อุปกรณ์ #5 วัตต์ ชั่วโมง
ค่าไฟฟ้าต่อหน่วย* (เฉลี่ยที่ 4 บาทต่อหน่วย) บาท

พลังงานไฟฟ้า (ต่อเดือน) ยูนิต ค่าไฟฟ้าฐาน บาท
อัตราค่า ft** บาท ค่า ft ที่จ่าย บาท
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม % ภาษีมูลค่าเพิ่ม บาท
ค่าไฟฟ้าต่อเดือน*** บาท
  • * ค่าไฟฟ้าต่อหน่วย เป็นจำนวนเฉลี่ยที่ประมาณขึ้นสำหรับบ้านอยู่อาศัยทั่วไปเพื่อความสะดวกในการคำนวณ ค่าไฟฟ้าจริงจะแปรผันแบบอัตราก้าวหน้าตามปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ทั้งบ้านต่อเดือน แต่จะคลาดเคลื่อนไม่มากครับ
  • ** ค่าไฟฟ้าผันแปร (ft) จะปรับเปลี่ยนอยู่เป็นประจำทุก 2-3 เดือน จึงเว้นว่างไว้ สามารถหาค่า ft ได้จากเว็บของการไฟฟ้า หรือดูจากในใบแจ้งค่าไฟฟ้า แต่จะบวกลบอยู่แถวๆ 10-50 สตางค์ต่อหน่วย แทบจะไม่มีผลกับค่าไฟที่คิดออกมาครับ ไม่ต้องใส่ก็ได้
  • *** ด้วยเหตุผลด้านบน ทำให้ค่าไฟฟ้าที่คิดออกมาด้วยโปรแกรมคำนวณนี้เป็นเพียงค่าประมาณที่เอาไว้พอให้รู้ว่าเราเสียค่าไฟกับตู้ปลาเดือนนึงเท่าไหร่เท่านั้นครับ จะไม่ตรงกับค่าไฟที่เสียจริง แต่ก็จะคลาดเคลื่อนจากค่าไฟจริงไม่มากนัก