Aqua.c1ub.net
*
  Sun 29/Sep/2024
หน้า: 1   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: ใครพอรู้เรื่องค่าไฟอัตราก้าวหน้าบ้างครับ  (อ่าน 7214 ครั้ง)
podrbu ออฟไลน์
Club Follower
« เมื่อ: 16/10/10, [18:21:43] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

พอดีที่บ้าน เป็นอาคารพานิช 5 ห้อง ทำธุรกิจเบเกอรี่
ค่าไฟประมาณเดือนละ 5000 บาทต่อเดือน

พอดีได้ไปคุยกับพี่ที่ร้านกาแฟอยู่ที่นึง เค้าบอกว่า ที่ร้านเค้า ขอไฟอีกหม้อแยกกับบ้านต่างหาก (มีสองหม้อคือของบ้านและของร้าน)
ทำให้ประหยัดค่าไฟไปได้ค่อนข้างเยอะพอสมควร

ไม่ทราบว่าเป็นความจริงหรือปล่าวครับ พอดีจะปรับปรุงร้านใหม่ จะได้ขอไฟเพิ่มอีกหม้อ ใครพอรุ้รบกวนทีครับ emb01
ซามูไรศพหมา ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #1 เมื่อ: 16/10/10, [18:38:49] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ไฟบ้านกับไฟอุตสาหกรรมราคามันต่างกันอยู่แล้วครับ
พวกไฟ 3เฟสไรพวกนี้อ่ะจะแพงกว่าไฟบ้าน
podrbu ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #2 เมื่อ: 16/10/10, [19:01:28] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ร้านผมก็เป็นไฟบ้านครับ เป็นธุรกิจเล็กๆครับไม่ใหญ่โตมาก
E12ROR ออฟไลน์
Club Member
« ตอบ #3 เมื่อ: 16/10/10, [19:48:24] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

การคิดแบบอัตราก้าวหน้า หลักการคร่าวๆคือ ยิ่งใช่มาก ยิ่งราคาสูง

เช่นถ้าใช้ แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์
150 หน่วยแรกราคา 1.8 บาท/หน่วย
หน่วยที่ 151-400 2.7 บาทต่อหน่วย
ตั้งแต่หน่วยที่ 401 ขึ้นไป 2.9 บาทต่อหน่วย
ค่าบริการ 40 บาทต่อเดือน
โดยประมาณนะครับ

การเพิ่มหม้อแปลงโดย แบ่งเป็นทั้งของร้าน หม้อนึง
และที่อยู่อาศัย อีกหม้อนึง
จะสามารถลดค่าใช่จ่ายได้ตรงหน่วยการใช้นี่แหละครับ

สิ่งที่ต้องคำนึง ค่าบริการ เพราะเราต้องเสียมากขึ้น เพราะ เพิ่มหม้อแปลง
และหน่วยที่เราใช่จริง อย่างถ้าเราใช้ 160 หน่วย การเพิ่มหม้อแปลงจะเป็นการเพิ่มค่าไฟฟ้าเป็นต้น

**คร่าวๆได้แค่นี้ครับ ผมศึกษามาประมาณนี้เอง
ตัวเลขจริงอาจแตกต่างจากที่ให้ไว้นะครับ
LiNG_NOi ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #4 เมื่อ: 16/10/10, [21:17:29] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

การคิดแบบอัตราก้าวหน้า หลักการคร่าวๆคือ ยิ่งใช่มาก ยิ่งราคาสูง

เช่นถ้าใช้ แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์
150 หน่วยแรกราคา 1.8 บาท/หน่วย
หน่วยที่ 151-400 2.7 บาทต่อหน่วย
ตั้งแต่หน่วยที่ 401 ขึ้นไป 2.9 บาทต่อหน่วย
ค่าบริการ 40 บาทต่อเดือน
โดยประมาณนะครับ

การเพิ่มหม้อแปลงโดย แบ่งเป็นทั้งของร้าน หม้อนึง
และที่อยู่อาศัย อีกหม้อนึง
จะสามารถลดค่าใช่จ่ายได้ตรงหน่วยการใช้นี่แหละครับ

สิ่งที่ต้องคำนึง ค่าบริการ เพราะเราต้องเสียมากขึ้น เพราะ เพิ่มหม้อแปลง
และหน่วยที่เราใช่จริง อย่างถ้าเราใช้ 160 หน่วย การเพิ่มหม้อแปลงจะเป็นการเพิ่มค่าไฟฟ้าเป็นต้น

**คร่าวๆได้แค่นี้ครับ ผมศึกษามาประมาณนี้เอง
ตัวเลขจริงอาจแตกต่างจากที่ให้ไว้นะครับ


อ้างจากอัตราค่าไฟของคุณกระทู้ข้างบนนะค่ะ


ที่ว่าค่าไฟถูกขึ้นคือคงจาคิดจากส่วนต่างของค่าไฟมั้งค่ะ เช่น ถ้าเราใช้ไฟ 400 หน่วย ค่าไฟก็จะประมาณ

มีหม้อแปลงอีกตัวนะค่ะ
150 หน่วยแรกราคา 1.8 บาท/หน่วย               = 270
หน่วยที่ 151-400 2.7 บาท/หน่วย                 = 672.3          รวมเป็น 942.3

แต่ถ้าใช้หม้อแปลงตัวเดียว ค่าไฟฟ้าในบ้านเราก็จาถูกคิดที่ อัตราตั้งแต่หน่วยที่ 401 ขึ้นไป 2.9 บาทต่อหน่วย ค่าไฟก็จะเป็น 1160 (เพราะเราหักค่าไฟในร้านเบเกอรี่ไปแล้วนะค่ะ ไม่เอามาคิด)


ก็จะถูกกว่า 217.7 บาทค่าบริการอีก 40 ก็จะถูกลง  177.7 บาท

ในแต่ละเดือนเราก็จะประหยัดไปได้ 177.7บาท ซึ่งในระยะยาวก็อาจจะคุ้มนะค่ะ  1 ปีก็ 2132.4 บาท แต่ในการติดตั้งหม้อแปลงเขาจาคิดค่าบริการยังไง อันนี้ไม่รู้เหมือนกันนะค่ะ

แต่ก็อย่างที่คุณกระทู้ข้างบนบอกว่า ถ้าเราใช้ไฟไม่ถึง 400 หน่วย (ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านนะค่ะ ไม่ใช่ที่ร้านเบเกอร์รี่) มันก็จะมีผลต่างของค่าไฟฟ้าที่ไม่มาก ซึ่งก็อาจจะไม่คุ้มกับค่าบริการรายเดือน แล้วก็อาจจะเสียค่าหม้อแปลงไฟฟ้าอีกก็ได้ค่ะ
Asusss ออฟไลน์
Club Member
« ตอบ #5 เมื่อ: 16/10/10, [21:47:16] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ


อ้างจากอัตราค่าไฟของคุณกระทู้ข้างบนนะค่ะ


ที่ว่าค่าไฟถูกขึ้นคือคงจาคิดจากส่วนต่างของค่าไฟมั้งค่ะ เช่น ถ้าเราใช้ไฟ 400 หน่วย ค่าไฟก็จะประมาณ

มีหม้อแปลงอีกตัวนะค่ะ
150 หน่วยแรกราคา 1.8 บาท/หน่วย               = 270
หน่วยที่ 151-400 2.7 บาท/หน่วย                 = 672.3          รวมเป็น 942.3

แต่ถ้าใช้หม้อแปลงตัวเดียว ค่าไฟฟ้าในบ้านเราก็จาถูกคิดที่ อัตราตั้งแต่หน่วยที่ 401 ขึ้นไป 2.9 บาทต่อหน่วย ค่าไฟก็จะเป็น 1160 (เพราะเราหักค่าไฟในร้านเบเกอรี่ไปแล้วนะค่ะ ไม่เอามาคิด)


ก็จะถูกกว่า 217.7 บาทค่าบริการอีก 40 ก็จะถูกลง  177.7 บาท

ในแต่ละเดือนเราก็จะประหยัดไปได้ 177.7บาท ซึ่งในระยะยาวก็อาจจะคุ้มนะค่ะ  1 ปีก็ 2132.4 บาท แต่ในการติดตั้งหม้อแปลงเขาจาคิดค่าบริการยังไง อันนี้ไม่รู้เหมือนกันนะค่ะ

แต่ก็อย่างที่คุณกระทู้ข้างบนบอกว่า ถ้าเราใช้ไฟไม่ถึง 400 หน่วย (ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านนะค่ะ ไม่ใช่ที่ร้านเบเกอร์รี่) มันก็จะมีผลต่างของค่าไฟฟ้าที่ไม่มาก ซึ่งก็อาจจะไม่คุ้มกับค่าบริการรายเดือน แล้วก็อาจจะเสียค่าหม้อแปลงไฟฟ้าอีกก็ได้ค่ะ


ดูหม้อที่เอามาใช้ด้วยว่าขนาดเท่ากับหม้อเดิมไหมการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าขนาด 5A อยู่ที่ 500-800บาท
แต่ถ้าเป้นขนาด15Aจะอยู่ที่ 2000บาท การไฟฟ้าเขาคิด

ปล.ถ้าขนาดหม้อไม่เท่ากันเป็นไปได้ที่มิเตอร์จะวิ่งเร็วกว่าตัวที่มีขนาดใหญ่กว่า
podrbu ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #6 เมื่อ: 16/10/10, [21:55:55] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

งั้นก็แปลว่า มันสามารถประหยัดได้จริง

เดี๋ยวพรุ่งนี้ไปร้าน จะลองคำนวนคร่าวๆครับว่า ประหยัดไปได้กี่บาทต่อเดือน

LiNG_NOi ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #7 เมื่อ: 16/10/10, [22:14:18] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ


อ้างจากอัตราค่าไฟของคุณกระทู้ข้างบนนะค่ะ


ที่ว่าค่าไฟถูกขึ้นคือคงจาคิดจากส่วนต่างของค่าไฟมั้งค่ะ เช่น ถ้าเราใช้ไฟ 400 หน่วย ค่าไฟก็จะประมาณ

มีหม้อแปลงอีกตัวนะค่ะ
150 หน่วยแรกราคา 1.8 บาท/หน่วย               = 270
หน่วยที่ 151-400 2.7 บาท/หน่วย                 = 672.3          รวมเป็น 942.3

แต่ถ้าใช้หม้อแปลงตัวเดียว ค่าไฟฟ้าในบ้านเราก็จาถูกคิดที่ อัตราตั้งแต่หน่วยที่ 401 ขึ้นไป 2.9 บาทต่อหน่วย ค่าไฟก็จะเป็น 1160 (เพราะเราหักค่าไฟในร้านเบเกอรี่ไปแล้วนะค่ะ ไม่เอามาคิด)


ก็จะถูกกว่า 217.7 บาทค่าบริการอีก 40 ก็จะถูกลง  177.7 บาท

ในแต่ละเดือนเราก็จะประหยัดไปได้ 177.7บาท ซึ่งในระยะยาวก็อาจจะคุ้มนะค่ะ  1 ปีก็ 2132.4 บาท แต่ในการติดตั้งหม้อแปลงเขาจาคิดค่าบริการยังไง อันนี้ไม่รู้เหมือนกันนะค่ะ

แต่ก็อย่างที่คุณกระทู้ข้างบนบอกว่า ถ้าเราใช้ไฟไม่ถึง 400 หน่วย (ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านนะค่ะ ไม่ใช่ที่ร้านเบเกอร์รี่) มันก็จะมีผลต่างของค่าไฟฟ้าที่ไม่มาก ซึ่งก็อาจจะไม่คุ้มกับค่าบริการรายเดือน แล้วก็อาจจะเสียค่าหม้อแปลงไฟฟ้าอีกก็ได้ค่ะ


เราคำนวณคราวๆให้แล้วไงค่ะ  [เอ๊ะ!!!]  คือมันประหยัดได้สูงสุด 177.7 บาท ต่อเดือน ไม่มากไปกว่านี้แล้วค่ะ  [เอ๊ะ!!!]
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 16/10/10, [22:17:17] โดย LiNG_NOi »
~๐ [N][o][t][e] ๐~ ออฟไลน์
Club Veteran
« ตอบ #8 เมื่อ: 16/10/10, [23:21:19] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

เราคำนวณคราวๆให้แล้วไงค่ะ  [เอ๊ะ!!!]  คือมันประหยัดได้สูงสุด 177.7 บาท ต่อเดือน ไม่มากไปกว่านี้แล้วค่ะ  [เอ๊ะ!!!]
อย่าเถียงกันๆ...
สรุปมาให้ฟังอย่างคร่าวๆให้หน่อยสิ เห็นตัวเลขก็มึนหัวแล้ว  [on_051] [on_051] [on_051]
slayer ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #9 เมื่อ: 17/10/10, [03:20:12] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

สรุปง่ายๆ ก็คือ สมมุตว่าเราใช้ไฟฟ้า 400หน่วยต่อเดือน เราก็จะเสียอัตราก้าวหน้า ตั้งแต่ 1-150 และ 151-400
แต่ถ้าเรามีมิเตอร์ไฟฟ้า 2ลูก สมมุตว่าเราใช้ไฟฟ้าเท่ากันทั้ง 2ลูก เราก็จะเสียอัตราก้าวหน้า ตั้งแต่ 1-150 และ 151-200 ของมิเตอร์ทั้งสองลูกครับ แต่ค่าใช้จ่ายในการขอมิเตอร์เพิ่ม จะคุ้มต้นทุนในเวลากี่ปีนั้น ไม่รับประกันครับ  [on_026]
SM ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #10 เมื่อ: 17/10/10, [06:35:57] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ลองเอาค่าไฟฟ้าปัจจุบันเข้าไปคำนวณใน excel file นี้ดูครับ น่าจะเข้าใจกว่า
อัตราการคิดค่าไฟฟ้าประเภทไหนให้ดูในใบเสร็จรับเงิน

http://www.mea.or.th/internet/ERcal/ERCalculate1.xls

ส่วนการแยกนี่ประหยัดกว่าเฉพาะในส่วนของการใช้งานขั้นต่ำ ช่วงที่ใช้น้อยๆ
ถ้าจะให้ประหยัดสุดต้อง balance ให้ได้การใช้ 50% 50% จะได้ประโยชน์สูงสุด แต่ว่าไม่ค่อยง่ายเท่าไหร่

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ
1.ค่าใช้จ่ายที่ต้องมัดจำกับการไฟฟ้าเพื่อติดตั้งมิเตอร์เพิ่ม
2.โดยปกติแล้ว หนึ่งบ้านเลขที่จะติดตั้งมิเตอร์ได้ หนึ่งตัวเท่านั้น ยกเว้นแต่จะตกลงกับการไฟฟ้าเป็นกรณีไป
3.ค่าใช้จ่ายในการแยกวงจรไฟฟ้าใหม่ออกจากวงจรเดิม
4.จะประหยัดได้อีกในกรณีที่มิเตอร์ใดที่มีพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าช่วง TOU ด้านล่าง
    ใช้ช่วง 22.00-9.00 น เยอะ ช่วงนี้ค่าไฟฟ้าถูก
    ใช้ช่วง วันเสาร์ อาทิตย์ วันหยุดราชการ เยอะ วันดังกล่าวค่าไฟฟ้าถูก
    ใช้ช่วง 9.00-22.00 น  น้อย ช่วงนี้ค่าไฟฟ้าแพง
   อัตราค่าไฟฟ้าด้านบน เป็นแบบ TOU : Time Of Use ซึ่งใช้สำหรับบ้านพักอาศัยได้ ถ้าพฤติกรรมเราเป็นแบบด้านบนก็จะยิ่งถูก
boyza honda ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #11 เมื่อ: 17/10/10, [06:38:42] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ลองเอาค่าไฟฟ้าปัจจุบันเข้าไปคำนวณใน excel file นี้ดูครับ น่าจะเข้าใจกว่า
อัตราการคิดค่าไฟฟ้าประเภทไหนให้ดูในใบเสร็จรับเงิน

http://www.mea.or.th/internet/ERcal/ERCalculate1.xls

ส่วนการแยกนี่ประหยัดกว่าเฉพาะในส่วนของการใช้งานขั้นต่ำ ช่วงที่ใช้น้อยๆ
ถ้าจะให้ประหยัดสุดต้อง balance ให้ได้การใช้ 50% 50% จะได้ประโยชน์สูงสุด แต่ว่าไม่ค่อยง่ายเท่าไหร่

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ
1.ค่าใช้จ่ายที่ต้องมัดจำกับการไฟฟ้าเพื่อติดตั้งมิเตอร์เพิ่ม
2.โดยปกติแล้ว หนึ่งบ้านเลขที่จะติดตั้งมิเตอร์ได้ หนึ่งตัวเท่านั้น ยกเว้นแต่จะตกลงกับการไฟฟ้าเป็นกรณีไป
3.ค่าใช้จ่ายในการแยกวงจรไฟฟ้าใหม่ออกจากวงจรเดิม
4.จะประหยัดได้อีกในกรณีที่มิเตอร์ใดที่มีพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าช่วง TOU ด้านล่าง
    ใช้ช่วง 22.00-9.00 น เยอะ ช่วงนี้ค่าไฟฟ้าถูก
    ใช้ช่วง วันเสาร์ อาทิตย์ วันหยุดราชการ เยอะ วันดังกล่าวค่าไฟฟ้าถูก
    ใช้ช่วง 9.00-22.00 น  น้อย ช่วงนี้ค่าไฟฟ้าแพง
   อัตราค่าไฟฟ้าด้านบน เป็นแบบ TOU : Time Of Use ซึ่งใช้สำหรับบ้านพักอาศัยได้ ถ้าพฤติกรรมเราเป็นแบบด้านบนก็จะยิ่งถูก
ความรู้ใหม่ ขอบคุณคับ [on_062]
LiNG_NOi ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #12 เมื่อ: 17/10/10, [10:17:28] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

อย่าเถียงกันๆ...
สรุปมาให้ฟังอย่างคร่าวๆให้หน่อยสิ เห็นตัวเลขก็มึนหัวแล้ว  [on_051] [on_051] [on_051]



อารายพี่โน้ต ม่ายได้เถียงกันสักหน่อย ชิชิชิ



ลองเอาค่าไฟฟ้าปัจจุบันเข้าไปคำนวณใน excel file นี้ดูครับ น่าจะเข้าใจกว่า
อัตราการคิดค่าไฟฟ้าประเภทไหนให้ดูในใบเสร็จรับเงิน

http://www.mea.or.th/internet/ERcal/ERCalculate1.xls

ส่วนการแยกนี่ประหยัดกว่าเฉพาะในส่วนของการใช้งานขั้นต่ำ ช่วงที่ใช้น้อยๆ
ถ้าจะให้ประหยัดสุดต้อง balance ให้ได้การใช้ 50% 50% จะได้ประโยชน์สูงสุด แต่ว่าไม่ค่อยง่ายเท่าไหร่

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ
1.ค่าใช้จ่ายที่ต้องมัดจำกับการไฟฟ้าเพื่อติดตั้งมิเตอร์เพิ่ม
2.โดยปกติแล้ว หนึ่งบ้านเลขที่จะติดตั้งมิเตอร์ได้ หนึ่งตัวเท่านั้น ยกเว้นแต่จะตกลงกับการไฟฟ้าเป็นกรณีไป
3.ค่าใช้จ่ายในการแยกวงจรไฟฟ้าใหม่ออกจากวงจรเดิม
4.จะประหยัดได้อีกในกรณีที่มิเตอร์ใดที่มีพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าช่วง TOU ด้านล่าง
    ใช้ช่วง 22.00-9.00 น เยอะ ช่วงนี้ค่าไฟฟ้าถูก
    ใช้ช่วง วันเสาร์ อาทิตย์ วันหยุดราชการ เยอะ วันดังกล่าวค่าไฟฟ้าถูก
    ใช้ช่วง 9.00-22.00 น  น้อย ช่วงนี้ค่าไฟฟ้าแพง
   อัตราค่าไฟฟ้าด้านบน เป็นแบบ TOU : Time Of Use ซึ่งใช้สำหรับบ้านพักอาศัยได้ ถ้าพฤติกรรมเราเป็นแบบด้านบนก็จะยิ่งถูก


อันนี้ความรู้จิงๆๆๆ ขอบคุณนะคร้า นึกว่าเขาคิดแค่อัตราก้าวหน้าอย่างเดียว พึ่งรู้ว่าคิดที่ช่วงเวลาด้วย ตัวแปรมากมายจัง
ผู้มาแวะชม ออฟไลน์
Club Champion
« ตอบ #13 เมื่อ: 18/10/10, [10:41:01] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

มันจะไปแพงตรงค่า FT นี่แหละ  [on_009]
TòóN™ ออฟไลน์
Cute Member
« ตอบ #14 เมื่อ: 19/10/10, [15:40:19] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

มันจะไปแพงตรงค่า FT นี่แหละ  [on_009]
[กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] ที่บ้านโดนมาแล้ว ค่า FT 800 กว่าบาท
ImThai ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #15 เมื่อ: 20/10/10, [16:51:35] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ผมไม่เข้าใจว่าขอทำไม อาคารพานิช ปกติต้องมีมิเตอร์ไฟ ต่อหลังอยู่แล้วไม่ใช่เหรอ  [งง] หรือว่าทำเป็นบ้านเลขที่เดียว เลยมีมิเตอร์เดียวอ่ะครับ
SM ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #16 เมื่อ: 21/10/10, [06:22:30] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

มันจะไปแพงตรงค่า FT นี่แหละ  [on_009]
[กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] [กู้ดครับ!] ที่บ้านโดนมาแล้ว ค่า FT 800 กว่าบาท

FT จะจ่ายอัตราไหนก็โดนครับ ยกเว้นว่าจะได้รับ โปรโมชั่น จากรัฐบาล ถ้าจำไม่ผิดใช้ไม่กิน 50 หน่วยใช้ฟรีครับ
หน้า: 1   ขึ้นบน
พิมพ์
กระโดดไป: