Aqua.c1ub.net
*
  Fri 26/Apr/2024
หน้า: 1 2   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: ริคเซีย(Riccia fluitans)ลุงอามาโน่จับหนูกดน้ำ + แถมภาพสายพันธุ์ต่างๆด้วย  (อ่าน 37417 ครั้ง)
Coffman ออฟไลน์
Sponsor
« เมื่อ: 16/06/10, [14:01:05] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ


* 2259491.jpg (100.13 KB, 367x550 - ดู 13480 ครั้ง.)



Riccia fluitans in the submerged form
ริคเซียในรูปแบบใต้น้ำ

By Jan Ole Pedersen, Ole Pedersen and Claus Christensen
 ริคเซียเป็นพืชน้ำใน ตระกูล liverwort Riccia fluitans เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นพืชลอยน้ำชนิดหนึ่ง บทความนี้เป็นบทความที่  จะดัดแปลงริคเซียให้เป้นพืชจมน้ำและปกคลุม พื้นผิวอย่างสวยงาม

  Takashi Amano เป็นคนแรกๆที่นำเทคนิคนี้ให้เป็นที่รู้จักในวงการไม้น้ำ ด้วยการนำริคเซีนมาพันหินภูเขาไฟเพื่อตบแต่งตู้ไม้น้ำ  ในสภาพใต้น้ำริคเซียจะ แตกกิ่งก้านสาขาให้ความรู้สึกแปลก และรู้สึกโดดเด่นกว่าพืช ที่มีทัลลัส  (thallus ส่วนของใบที่มี กิ่งก้านสีเขียว) บนพื้นผิวต่างๆ  


  การใช้ริคเซียเป้นไม้น้ำเป็นความรู้ที่ค่อนข้างใหม่ แต่อย่างไรก็ตามเรามักพบริคเซียในสภาพธรรมชาติที่เป็นน้ำตก จุดไหลของน้ำ น้ำที่มีการปะทะรุนแรง  จะพบเห็นริคเซียเกาะติดกับส่วนรากของไม้น้ำต่างๆ สามารถเจริญได้บนพื้นโคลนได้ดี ในฤดูแล้งจะมีส่วนของ รากเทียม   rhizoids ใช้ดูดน้ำและสารอาหารจากโคลนเพื่ออยู่รอด


เป็นลิเวอร์เส้นเล็กจิ๋ว ชื่อ Riccia fluitans ลองดูโตดีมากบนพีทมอส ได้ texture มาอีกแบบนึง

เครดิต http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=papiranya&group=2&month=12-2008&date=10


   ในการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำเราจะพบเห็น ริคเซียเจริญเกาะตามกิ่งก้านสาขาได้น้อยมาก (เนื่องจากการที่มันลอยน้ำ) เราจึงต้องทำการ ช่วยริคเซียซะหน่อยเพื่อความสวยงามในตู้เรา โดยวิธีง่ายๆ คือใช้ใบ (Thallus) วางให้ทั่วผิวหน้าก้อนหิน และรัด หุ้ม ไว้ด้วยด้วยตาข่ายจับปลา(ซึ่งเป็นวิธีที่ผู้เขียนบอกว่าเป็นวิธีที่ทำให้เติบโตได้รวดเร็ว) หากมี CO2 และแสงไฟที่แรงเพียงพอเรามักพบว่า ไม่กี่ชั่วโมงหลังจากเปิดไฟ เราจะพบฟอกอากาศสะสมที่ปลายใบกระทบกับแสงไฟอย่างสวยงาม ราวไข่มุก ซึ่งการคายฟองจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมี CO2 และไฟแรง หรือตอนเปลี่ยนน้ำในตู้  น้ำประปาที่มีปริมาณ CO2 มากเกินพอตอนเปลี่ยนน้ำเป็นวิธีหนึ่งที่กระตุ้นให้ริคเซียคายฟองได้มาก แต่การคายฟองจะหยุดลงเมื่อไม่มีการเติม CO2 อย่างต่อเนื่อง(เทคนิคนี้เอาไปใช้ถ่ายภาพได้นะครับ)  


    ริคเซียจะไม่มีทางจับกับซับเสตรท หรือสิ่งที่เรายึด พัน ไว้ ดังนั้นเราจึงต้องปลูก พันมันใหม่หลังจากเลี้ยงได้ระยะหนึ่ง เพราะพฤติกรรมที่มันชอบลอยขึ้นสู่ผิวน้ำ

    วิธีที่พอจะลดการหลุดลอยทำได้โดยตัดแต่ง ด้วยกรรไกร หรือโรยทับด้วยกรวดทับบางๆ

    ริคเซียใช้ตบแต่งตู้ไม้น้ำได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะวางหินพันริคเซียไว้เดี่ยวๆ เป็นกลุ่ม เล่นระดับ เล่นระยะ เพื่อดึงดูดจุดสนใจในตู้ได้ดี เพราะฟองอากาศที่อยู่บนใบของมัน ซึ่งแล้วแต่เทคนิคของแต่ละท่าน


    การฟอร์มริคเซียให้ไว ต้องการน้ำที่มีความกระด้างต่ำ แสงแรง และปริมาณ CO2 สูง ปริมาณปุ๋ย หลักรองมากพออุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 10-28 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิที่สูงทำให้ริคเซียต้องการ CO2 และปุ๋ยที่มากขึ้น)

การขาดปุ๋ยดูได้จากใบริคเซีย ที่มีสีเหลือง สีเขียวอ่อน และหยุดการเจริญเติบโต


   ริคเซียที่สมบูรณ์จะมีใบเขียวเข้ม มีลักษณะโปร่งแสง จาก Aerenchyma ช่องรูเปิดเพื่อรับอากาศ ลักษณะใบสมบูรณ์เช่นนี้จะมีมวลที่หนักและจมน้ำได้ เรามักพบริคเซียแบบนี้ในช่วงฤดูหนาวริคเซียจะจมตัวลงน้ำเพื่อหลีกเลี่ยงน้ำแข็งที่ผิวน้ำ
 
  ริคเซียสามารถพบได้ตามแหล่งธรรมชาติทั่วโลก พันธุ์ญี่ปุ่น เป็นพันธุ์ที่สวยงาม ใบยาว เหมาะสมที่เอามาประดับตู้ที่สุด  ริคเซียสายพันธุ์อื่นๆ จากเอเชีย ยุโรป มักมีใบเล็ก(แคระที่เรียกกันนั่นหล่ะ) จะมีลักษณะที่ไม่หนาแน่นและลอยขึ้นผิวหน้าน้ำได้ง่าย  
 
 เครดิต http://www.tropica.com/advising/plant-articles/riccia-fluitans.aspx



ฝาก layout งามๆ


สายพันธุ์ริคเซียครับ  http://www.tropica.com/advising/plant-articles/forskellige-riccia-fluitans.aspx
ญี่ปุ่นครับ ชนะกานา 1-0 สวยใช้กันมากในตู้ไม้น้ำ



สายพันธุ์ยุโรปครับ ไม่เป็นที่นิยมเท่าไหร่  



สายพันธุ์ไทยครับ เป็นสายพันธุ์ใกล้เคียงกับยุโรป ไม่เป็นที่นิยมเท่าไหร่เช่นกัน



และสุดท้ายสายพันธุ์สิงคโปร์ ไม่นิยมเช่นกัน  



ขอบคุณครับที่อ่านกันจบ  [on_066]  
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 12/09/10, [10:54:30] โดย บัง! »
Tags: ไม้น้ำ 
champ ออฟไลน์
หมอแคระ mania
« ตอบ #1 เมื่อ: 16/06/10, [14:38:25] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณอย่างสุดซึ้งเลยครับสำหรับบทความดีๆโดยคุณ coffman  [เจ๋ง]  [เจ๋ง]  [เจ๋ง] เพิ่งได้ริกเซียแคระมาพอดี
aqua_notta ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #2 เมื่อ: 16/06/10, [14:55:53] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

 [เจ๋ง] [เจ๋ง] [เจ๋ง] [เจ๋ง]
ณ~ใชเหมี่ยง ออฟไลน์
Club Champion
« ตอบ #3 เมื่อ: 16/06/10, [15:09:37] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ได้ความรู้อีกแล้ว  [เจ๋ง] ขอบคุณมากๆครับ
AM ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #4 เมื่อ: 16/06/10, [16:01:56] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ข้าฯน้อย  ขอคาระวะ  ด้วยกาแฟ ลาเต้เย็น หนึ่งแก้วใหญ่..... asspain

คุณ Coffman  หามาให้อ่านอีกนะคร๊าบ  ชอบ ๆ   อยาก+ให้ซัก20
L a k e I o n . ออฟไลน์
Club Champion
« ตอบ #5 เมื่อ: 16/06/10, [16:06:02] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณครับ สำหรับข้อมูลและน้ำใจ [กู้ดครับ!]
ผู้มาแวะชม ออฟไลน์
Club Champion
« ตอบ #6 เมื่อ: 16/06/10, [16:09:07] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

สายพันธุ์ไทย เหมือนพีเลียเลยอะ

 [เจ๋ง]
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 16/06/10, [16:12:03] โดย ผู้มาแวะชม »
RK` ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #7 เมื่อ: 16/06/10, [16:25:01] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณสำหรับบทความครับ [เจ๋ง] อามาโน่เป็นคนคิดนี่เองถึงว่าแกชอบจับริคเซียมาแซมไว้ที่พื่นตู้
Gate Crasher Aqua ออฟไลน์
Club Veteran
« ตอบ #8 เมื่อ: 16/06/10, [17:10:05] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ชอบจังครับ ขอบคุณครับ [เจ๋ง]
mandypoolz ออฟไลน์
Hot Member
« ตอบ #9 เมื่อ: 16/06/10, [17:31:01] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

กำลังว่าง ๆ เลย ขอบคุณครับ  [เขิลลลล]

มีรูปผมด้วย  ้hahaha
BiG River ออฟไลน์
Club Veteran
« ตอบ #10 เมื่อ: 16/06/10, [21:03:57] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

oatto500 ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #11 เมื่อ: 16/06/10, [21:57:20] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

 [เจ๋ง]
l3EП-nophila™ ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #12 เมื่อ: 16/06/10, [22:37:40] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณครับ Mr.coffman
เป็นกำลังใจให้ครับ หาบทความดีๆมาลงอีกนะครับ  [เจ๋ง] [เจ๋ง] [เจ๋ง] [เจ๋ง] [เจ๋ง] [เจ๋ง]
kinkin ออฟไลน์
Club Member
« ตอบ #13 เมื่อ: 16/06/10, [22:47:54] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณมากนะครับ  [เจ๋ง]
ขออีกเยอะเลยนะครับ
taraveemesex ออฟไลน์
Club Veteran
« ตอบ #14 เมื่อ: 16/06/10, [23:53:28] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

อ่านไว้ประดับความรู้เฉย..ไม่หล้ายุ่งกับ มอส ตู้ที่บ้าน ร้อนนน ร้อน
alll ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #15 เมื่อ: 17/06/10, [04:17:51] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

บทความดีมากๆเลยครับ
vinbitxp ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #16 เมื่อ: 17/06/10, [11:32:05] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

บทความดีๆ ความเก็บเข้าหิ้งด่วนน [on_024]
Padboke ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #17 เมื่อ: 17/06/10, [11:35:40] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณคับ อ่านเพลินดี
THEJEEN ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #18 เมื่อ: 30/07/10, [01:58:06] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณค่ะ ได้้ความรู้มากทีเดียว
ไอพวกโง่ทั้งหลาย ออฟไลน์
Club Member
« ตอบ #19 เมื่อ: 30/07/10, [02:47:59] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

เลี้ยงได้งามดีจริงๆ
aeksaint ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #20 เมื่อ: 03/08/10, [20:13:23] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ  ซักวันผมจะต้องเป็นแบบลุงอามาโน่ให้ได้ [เจ๋ง]
เวสป้า ออฟไลน์
Club Follower
« ตอบ #21 เมื่อ: 03/08/10, [23:35:44] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

พึ่งไปแกะมาเลยริกเซียบก [เอ๊ะ!!!]
ทีแรกไม่แน่ใจคืออะไร
เดี๋ยวต้องลองพาไปดำน้ำครับพี่เก่ง
Coffman ออฟไลน์
Sponsor
« ตอบ #22 เมื่อ: 04/08/10, [09:24:14] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

พึ่งไปแกะมาเลยริกเซียบก [เอ๊ะ!!!]
ทีแรกไม่แน่ใจคืออะไร
เดี๋ยวต้องลองพาไปดำน้ำครับพี่เก่ง
ที่บ้านที่แหล่งไม้น้ำเลยนะคนนี้อิจฉาๆๆๆๆๆ
smith ออฟไลน์
Club Member
« ตอบ #23 เมื่อ: 06/08/10, [22:22:35] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

มันมีริกเซียใบบกกับใบน้ำด้วยอ่ะครับมีข้อมูลไหมครับขอความรู้หน่อย
get ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #24 เมื่อ: 06/08/10, [22:33:37] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ผมก็เพิ่งรู้วันนี้เลยว่า มีใบบกใบน้ำด้วย  ้hahaha
bean ออฟไลน์
Club Veteran
« ตอบ #25 เมื่อ: 08/08/10, [04:52:31] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณมากๆครับ
minova ออฟไลน์
Cute Member
« ตอบ #26 เมื่อ: 08/08/10, [06:26:41] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณค่ะ เลยได้ความรู้เพิ่ม
ค่าpHที่ร้านสูง มิน่าเลี้ยงไม่รอด แต่เคยเลี้ยงในตู้กุ้งเรดบี
ใบมันใบนุ่มนิ่มแล้วไม่คายฟอง เติบโตได้แต่ใบเล็กลง(co2น้อยมาก)
Last,,One ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #27 เมื่อ: 13/09/10, [04:09:39] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

สายพันธุ์ไทย สวยใช่ย่อยนะนั่น
OH ออฟไลน์
Club Member
« ตอบ #28 เมื่อ: 13/09/10, [07:39:51] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณมากเลยครับ สำหรับความรู้ดีๆ แต่ว่า ญี่ปุ่น ชนะ กาน่า 1-0 ทำเอาผมหลุดขำ  ้hahaha ้hahaha
gungo ออฟไลน์
Club Champion
« ตอบ #29 เมื่อ: 13/09/10, [07:54:04] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

ขอบคุณสำหรับบทความดีๆนะครับ [เจ๋ง]+ไปครับ
หน้า: 1 2   ขึ้นบน
พิมพ์
กระโดดไป: