Aqua.c1ub.net
*
  Fri 19/Apr/2024
หน้า: 1   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: การวัดค่าน้ำ  (อ่าน 1138 ครั้ง)
✨Tinger bell✨ ออฟไลน์
Club Member
« เมื่อ: 21/12/14, [16:29:20] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

1ตัวเทสค่าน้ำของทะเลมี แอมโมเนีย ไนเตรด ph และมีอารัยอีกไหมครับ
2สำหรับคนที่จะเลี้ยงพวกปะการัง ปลาต้องเทสค่าน้ำอะไรมั้งครับ
3ถ้ามีไนเตรด แอมโมเนียจะทำยังไงไห้มันลดครับ
un_petit_garcon ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #1 เมื่อ: 22/12/14, [00:09:12] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

1. ตัวเทสค่าน้ำ มีเยอะมากครับ
- พื้นฐาน ก็ อุณหภูมิ ความเค็ม ph แอมโมเนีย ไนไตรท
- ค่าเคมีที่มีผลต่อตะไคร ไนเตรท กับ ฟอสเฟต
- ค่าพื้นฐานสำหรับเลี้ยงก้นตู้ระดับง่าย kh ca mg
- ค่าขั้นแอดว้านซ์ สำหรับพวกฮาร์ดคอร์ สตรอนเซียม ไอโอดีน ธาตุเหล็ก โบรอน ฯลฯ

2. ถ้าไม่ฮาร์ดคอร์มาก ก็ค่าพื้นฐาน และก็พวกที่มีผลต่อตะไคร่ ละก็ ค่าพื้นฐานปะการังอย่างง่าย kh ca mg ครับ แต่ไม่ค่อยแนะนำให้วัด เปลือง เปลี่ยนน้ำสม่ำเสมอ แล้วนานๆ วัดที ก็พอครับ

3. แอมโมเนีย เพียงได้พบเจอกับออกซิเจน ก็แปลงร่างเป็นไนไตรท ไนไตรท เจอกับแบคทีเรียใช้อ๊อก ก็ถูกเปบี่ยนเป็นไนเตรท ไนเตรท ถูกแบคไม่ใช้อ๊อก เปลี่ยนร่างเป็นไนโตรเจน ลอยสู่อากาศไปเลย

ปล แก้ไขคำผิด เนื่องจากพิมพ์อยู่บนเตียง กำละงเข้าสู่ช่วงสะลึมสะลือได้ที่ เหอๆ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 22/12/14, [09:14:40] โดย un_petit_garcon »
Puzzle ออฟไลน์
Club Brother
« ตอบ #2 เมื่อ: 22/12/14, [02:02:53] »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

1. ตัวเทสค่าน้ำ มีเยอะมากครับ
- พื้นฐาน ก็ อุณหภูมิ ความเค็ม ph แอมโมเนีย ไนไตรท
- ค่าเคมีที่มีผลต่อตะไคร ไนเตรท กับ ฟอสเฟต
- ค่าพื้นฐานสำหรับเลี้ยงก้นตู้ระดับง่าย kh ca mg
- ค่าขั้นแอดว้านซ์ สำหรับพวกฮาร์ดคอร์ สตรอนเซียม ไอโอดีน ธาตุเหล็ก โบรอน ฯลฯ

2. ถ้าไม่ฮาร์ดคอร์มาก ก็ค่าพื้นฐาน และก็พวกที่มีผลต่อตะไคร่ ละก็ ค่าพื้นฐานปะการังอย่างง่าย kh ca mg ครับ แต่ไม่ค่อยแนะนำให้วัด เปลือง เปลี่ยนน้ำสม่ำเสมอ แล้วนานๆ วัดที ก็พอครับ

3. แอมโมเนีย เพียงได้พบเจอกับออกซิเจน ก็แปลงร่างเป็นไนไตรท ไนไตรท เจอกับแบคทีเรียใช้อ๊อก ก็ถูกเปบี่ยนเป็นไนเตรท ไนเตรท ถูกแบคไม่ใช้อ๊อก เปลี่ยนร้างเป็นไนโตรเจน ลอยสู่อ่หารราคานั้นเลย 5555

- หลักๆ วัด kH / Ca ส่วน Mg ถ้าถ่ายน้ำสม่ำเสมอ ไม่จำเป็นต้องวัดหรือเติมเพิ่ม เพราะค่า Mg มีมากกว่า Ca ประมาณ 3 เท่า ดังนั้นถ้าถ่ายน้ำสม่ำเสมอ อย่างน้อยอาทิตย์ละ 10% ก็ไม่มีปัญหาอะไร ส่วนเรื่อง ไนเตรต ฟอสเฟต ดูตะไคร่ก็รู้ ถ้ามีขึ้นมากๆก็แสดงว่าค่าของเสียมีสูง

- ช่วงแรกให้วัดค่า วัดให้รู้ว่าในวันหนึ่งๆ หรือในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ใช้ไปเท่าไหร่ หลักๆ ก็คือ kH ส่วน Ca ถ้าไม่ได้เลี้ยงพวกโครงแข็งมากๆ ในตู้อาจจะใช้น้อย เปลี่ยนน้ำก็อาจจะเพียงพอ การไม่วัดแล้วเติม โดยที่ไม่มีหลักการ อาจจะส่งผลเสีย
ปริมาณแต่ละตู้ เลี้ยงไม่เหมือนกัน สภาวะแวดล้อมไม่เหมือนกัน การเติมย่อมไม่เท่ากัน
เกลือแต่ละยี่ห้อมีค่าแร่ธาตุที่ไม่เท่ากัน และเมื่อรวมถึงสิ่งที่เลี้ยง บางตู้ พอครบรอบเปลี่ยนน้ำแร่ธาตุก็ถูกเติมเพิ่มขึ้นมาอย่างเพียงพอ แต่ถ้าเลี้ยงมากๆ ระบบในตู้ไม่ดี การเปลี่ยนน้ำอาจจะไม่เพียงพอจึงต้องมีการเติมเพิ่ม

- จัดระบบกระแสน้ำ ระบบการกำจัดของเสียให้ดี สกิมเมอร์ดีๆ
หน้า: 1   ขึ้นบน
พิมพ์
กระโดดไป: